วันเสาร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2559

แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม

แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม

จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน ที่ว่า “ความเร่งของวัตถุเป็นปฎิภาคโดยตรงกับแรงลัพธ์ทีมากระทำและเป็นปฎิภาคผกผัน กับมวลของวัตถุ ” จะได้
โดยที่ F   คือ แรงดล มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
       ∆P คือ โมเมนตัมที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น kg.m/s
       m  คือ มวลของวัตถุ มีหน่วนเป็น กิโลกรัม (kg)
       v   คือ ความเร็วสุดท้ายของวัตถุ มีหน่วยเป็ย เมตรต่อวินาที (m/s)
       u   คือ ความเร็วเริ่มต้นของวัตถุ มีหน่วยเป็ย เมตรต่อวินาที (m/s)
       ∆t คือ  ช่วงเวลาสั้น ๆ มีหน่วยเป็น วินาที (s)
ดังนั้น แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ = อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุนั้น
    ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าโมเมนตัมเป็นปริมาณเวคเตอร์ ดังนั้นเมื่อโมเมนตัมมีการเปลี่ยนแปลงไป การคำนวณหาโมเมนตัมลัพธ์ก็ใช้หลักการของเวคเตอร์ ถ้าให้แรง F กระทำต่อวัตถุที่มีโมเมนตัม mu ทำให้โมเมนตัมเปลี่ยนไปเป็น mv พิจารณาได้เป็น 3 กรณี
ก. เมื่อทิศทางของแรง F อยู่ในทิศเกี่ยวกับ u และ  v
(ทำให้ v>u)
  ข. เมื่อทิศทางของแรง F อยู่ในทิศสวนทางหรือตรงข้ามกับ u และ  v
    (ทำให้ v>u)
ค. เมื่อทิศทางของแรง F ไม่อยู่ในทิศเดียวกับ u  และv


ที่มา: http://www.school.net.th/library/snet3/supinya/momentum/momentum.htm

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ความรู้จากBlogของเรา